VDO ถ่ายเมื่อวันอาสาฬหบูชา 15 กรกฎาคม 2554
สถานที่ตั้ง
ตั้งอยู่เลขที่ 109 ถนนอิสรภาพ แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย
กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 8 ไร่ พื้นที่ตั้งวัด เป็นที่ราลบลุ่มมีซอยต่อเชื่อมระหว่างถนนอิสรภาพกับถนนจรัลสนิทวงศ์ การคมนาคมสะดวก
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับซอยวัดอัมพวา
ทิศใต้ ติดต่อกับที่เอกชน
ทิศตะวันออก ติดต่อกับกองรถยนต์ กองช่าง ขส.ทร.
ทิศตะวันตกเป็นอาคารบ้านเรือราษฎร
อาคารเสนาสนะ
1. มีอุโบสถกว้าง 8 เมตร ยาว 26 เมตร ก่ออิฐถือปูนวิหารกว้าง 7 เมตร ยาว 14.30 เมตรก่ออิฐถือปูน
2. กุฎีสงฆ์จำ นวน 2 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้
3. ศาลาการเปรียญกว้าง 14 เมตร ยาว 36 เมตร
4. อาคารคอนกรีต หอระฆัง ฌาปนสถาน
5.ศาลาบำเพ็ญกุศลสุสานสำหรับปูชนียวัตถุมีพระประธานหน้าตักกว้าง4ศอก พระพักตร์มีลักษณะเป็นแบบสมัยอู่ทองพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย สมัฤทธ์ิ4องค์
กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 8 ไร่ พื้นที่ตั้งวัด เป็นที่ราลบลุ่มมีซอยต่อเชื่อมระหว่างถนนอิสรภาพกับถนนจรัลสนิทวงศ์ การคมนาคมสะดวก
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับซอยวัดอัมพวา
ทิศใต้ ติดต่อกับที่เอกชน
ทิศตะวันออก ติดต่อกับกองรถยนต์ กองช่าง ขส.ทร.
ทิศตะวันตกเป็นอาคารบ้านเรือราษฎร
อาคารเสนาสนะ
1. มีอุโบสถกว้าง 8 เมตร ยาว 26 เมตร ก่ออิฐถือปูนวิหารกว้าง 7 เมตร ยาว 14.30 เมตรก่ออิฐถือปูน
2. กุฎีสงฆ์จำ นวน 2 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้
3. ศาลาการเปรียญกว้าง 14 เมตร ยาว 36 เมตร
4. อาคารคอนกรีต หอระฆัง ฌาปนสถาน
5.ศาลาบำเพ็ญกุศลสุสานสำหรับปูชนียวัตถุมีพระประธานหน้าตักกว้าง4ศอก พระพักตร์มีลักษณะเป็นแบบสมัยอู่ทองพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย สมัฤทธ์ิ4องค์
ภาพเขียนที่บาน ประตูหน้าต่าง เจดยี ์ใหญ่หลังอุโบสถ
ประวัติวัดอัมพวา
วัดอัมพวา สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2211 ในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้างแต่เดิมบริเวณนี้เป็นที่สวนวัดตั้งอย ู่ด้านทิศตะวันตกของวังสวนอนันต์ปัจจุบันเป็นที่กองพันที่
1 รักษาพระองค์ กองรถยนต์ กองช่าง ขส.ทร. วัดนี้ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาประมาณพ.ศ. 2216
การศึกษา ทางวัดสนับสนุนให้พระภิกษุสามเณรศึกษาพระปริยัติธรรมจากสำ นักเรียนต่างๆได้ตามอัธยาศัย นอกจากนั้นได้ให้ทางราชการสร้างโรงเรียนขึ้นในที่วัดเป็นการสนับสนุน การศึกษของชาติอีกด้วย
1 รักษาพระองค์ กองรถยนต์ กองช่าง ขส.ทร. วัดนี้ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาประมาณพ.ศ. 2216
การศึกษา ทางวัดสนับสนุนให้พระภิกษุสามเณรศึกษาพระปริยัติธรรมจากสำ นักเรียนต่างๆได้ตามอัธยาศัย นอกจากนั้นได้ให้ทางราชการสร้างโรงเรียนขึ้นในที่วัดเป็นการสนับสนุน การศึกษของชาติอีกด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น