ตั้งอยู่เลขที่ 673 ถนนอิสรภาพ แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย
กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 6 ไร่ 3 งาน โฉนดเลขที่ 1384
อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับที่ดินเลขที่ 307-306-304-313 และทางสาธารณะ
กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 6 ไร่ 3 งาน โฉนดเลขที่ 1384
อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับที่ดินเลขที่ 307-306-304-313 และทางสาธารณะ
ทิศใต้ติดต่อกับที่ดินเลขที่ 340-341 และทางสาธารณะทั่ว ๆ ไป ทิศตะวันออกติดต่อกับที่ดินเลขที่ 307-306 และคลอง
ทิศตะวันตกติดต่อกับที่ดินเลขที่ 340-313-304 และทางสาธารณะ
พื้นที่ตั้งวัด
ทิศตะวันตกติดต่อกับที่ดินเลขที่ 340-313-304 และทางสาธารณะ
พื้นที่ตั้งวัด
เป็นที่ราบลุ่ม มีถนนเข้าออกถึงวัดได้สะดวก อาคารเสนาสนะมี อุโบสถกว้าง
8.90 เมตร ยาว 12.50 เมตร สร้าง พ.ศ. 2522 กุฎีสงฆ์จำนวน 4 หลัง เป็นอาคารไม้ ศาลาการเปรียญกว้าง 8 เมตร ยาว 30 เมตร สร้าง พ.ศ. 2518 เป็นอาคาร 2 ชั้น สำหรับปูชนียวัตถุมีพระประธานในอุโบสถ หน้าตัก 35 นิ้ว เจดีย์ขนาดสูง 8 เมตร
ประวัติวัดอมรทายิการาม
วัดอมรทายิการาม สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2450 ไม่ทราบนามและประวัติผู้สร้าง เดิมมีนามว่า“วัดยายมอญ” สันนิษฐานว่า อุบาสิกามีนามว่า “อมร” คงจะเป็นผู้ที่ยกที่ดินให้และดำเนินการสร้างวัดแล้วจึงได้ขนานนามตามนามผู้สร้าง ต่อมาในปี พ.ศ. 2482 ได้เปลี่ยนนามใหม่เป็น“วัดอมรทายิการาม” คงมีความหมายตามนามเดิมซึ่งชาวบ้านยังเรียกขานกันอยู่บ้าง วัดนี้ได้รับพระ
ราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลัง เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523
การศึกษาทางวัดสนับสนุนให้พระภิกษุสามเณรศึกษาพระปริยัติธรรมจาก สำนักเรียนอื่นได้ตามอัธยาศัยเฉพาะในวัดจัดให้มีห้องสมุดสำหรับสาธารณ ชนอีกด้วย
8.90 เมตร ยาว 12.50 เมตร สร้าง พ.ศ. 2522 กุฎีสงฆ์จำนวน 4 หลัง เป็นอาคารไม้ ศาลาการเปรียญกว้าง 8 เมตร ยาว 30 เมตร สร้าง พ.ศ. 2518 เป็นอาคาร 2 ชั้น สำหรับปูชนียวัตถุมีพระประธานในอุโบสถ หน้าตัก 35 นิ้ว เจดีย์ขนาดสูง 8 เมตร
ประวัติวัดอมรทายิการาม
วัดอมรทายิการาม สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2450 ไม่ทราบนามและประวัติผู้สร้าง เดิมมีนามว่า“วัดยายมอญ” สันนิษฐานว่า อุบาสิกามีนามว่า “อมร” คงจะเป็นผู้ที่ยกที่ดินให้และดำเนินการสร้างวัดแล้วจึงได้ขนานนามตามนามผู้สร้าง ต่อมาในปี พ.ศ. 2482 ได้เปลี่ยนนามใหม่เป็น“วัดอมรทายิการาม” คงมีความหมายตามนามเดิมซึ่งชาวบ้านยังเรียกขานกันอยู่บ้าง วัดนี้ได้รับพระ
ราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลัง เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523
การศึกษาทางวัดสนับสนุนให้พระภิกษุสามเณรศึกษาพระปริยัติธรรมจาก สำนักเรียนอื่นได้ตามอัธยาศัยเฉพาะในวัดจัดให้มีห้องสมุดสำหรับสาธารณ ชนอีกด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น